หน้าแรกประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่

ประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่

อีกหลายเรื่องในหมวดหมู่นี้

ข้าหลวงสามหัวเมืองกับการแก้ไขปัญหาที่เชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๔๑๗ – ๒๔๒๖)

หลังจากทำสนธิสัญญาเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๔๑๖ รัฐบาลกลางได้ส่งพระนรินทรราชเสนี (พุ่ม ศรีไชยยันต์) ไปเป็นข้าหลวงสามหัวเมืองประจำที่เชียงใหม่ เพื่อควบคุมดูแลและแก้ไขปัญหาในเมืองเชียงใหม่ ลำปาง...

เชียงใหม่สมัยปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ (พ.ศ. ๒๔๒๗ – ๒๕๗๖)

ตามที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าเชียงใหม่นับตั้งแต่ตกเป็นประเทศราชของไทยใน พ.ศ. ๒๓๑๗ จนถึงช่วงก่อนการปฏิรูปสมัยรัชกาลที่ ๕ สถานการณ์โดยทั่วไปในเชียงใหม่อาจกล่าวได้ว่าไม่ก่อให้เกิดปัญหาอย่างใดต่อรัฐบาลกลาง แม้ว่าวิธีการควบคุมเมืองเชียงใหม่จะไม่รัดกุมเท่าไรนักก็ตาม การเปลี่ยนแปลงในรูปที่รัฐบาลกลางต้องเข้าไปควบคุมกิจการภายในมากขึ้นตามลำดับ จนกระทั่ง      ...

พันธะของเมืองเชียงใหม่ต่อรัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ

สิ่งที่เชียงใหม่ต้องปฏิบัติตามหน้าที่ของเมืองประเทศราชแบ่งได้เป็น ๒ ประการ   ประการแรก การส่งเครื่องราชบรรณาการ ส่วย และสิ่งของต่างๆ เครื่องราชบรรณาการ ต้องส่ง ๓...

การปกครองเมืองเชียงใหม่ในฐานะประเทศราชของไทย

ในการปกครองเมืองเชียงใหม่ รัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ ได้ใช้นโยบายและวิธีการต่างๆ ดังต่อไปนี้ นโยบายการปกครองเมืองเชียงใหม่ รัฐบาลกลางทั้งในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นต่างมีนโยบายสนับสนุนให้เชียงใหม่เป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือที่เข้มแข็งเพียงพอที่จะป้องกันการรุกรานจากพม่า ดังจะเห็นได้ว่าพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตระหนักถึงความจำเป็นที่จะต้องให้ความช่วยเหลือให้เชียงใหม่ฟื้นตัวโดยเร็ว โดยโปรดเกล้าฯ ให้พระยาจ่าบ้านเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ให้รักษาเมืองจากการโจมตีของพม่า แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากเชียงใหม่อยู่ในสภาวะสงครามมานานบ้านเมืองจึงทรุดโทรม...

การปกครองภายในเมืองเชียงใหม่ก่อนการปฏิรูปการปกครองมณฑลพายัพ

ในสมัยพระยากาวิละได้นำระบบการปกครองบางอย่างของไทยไปปรับปรุงใช้ที่เชียงใหม่ เช่น การแต่งตั้งพระยาแสนหลวง พระยาสามล้าน พระยาจ่าบ้าน และพระยาเด็กชาย ให้อยู่ในตำแหน่งปฐมอัครมหาเสนาบดี ทั้ง ๔...

การฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๓๓๙ – ๒๓๔๗)

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขึ้นครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ พระยากาวิละพร้อมด้วยเจ้านายพี่น้องลงมาเฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการและกราบบังคมทูลข้อราชการ ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระยากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทนพระยาจ่าบ้าน (บุญมา) ซึ่งเสียชีวิตลงในปลายสมัยธนบุรีและโปรดเกล้าฯ...

ประวัติศาสตร์การปกครองเมืองเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๓๑๗ – ๒๔๗๖

(ตรงกับสมัยกรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๑ - ๗)) สรัสวดี อ๋องสกุล เชียงใหม่ในช่วงเวลานับตั้งแต่เป็นประเทศราชของไทยใน พ.ศ. ๒๓๑๗...

วัฒนธรรมประเพณีพม่าในล้านนาไทย

ตลอดระยะเวลาที่พม่าปกครองล้านนาไทยเป็นเวลาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๑๐๑ ถึง พ.ศ. ๒๓๑๗ นั้น พม่าได้นำเอาวัฒนธรรมประเพณีของตนเข้ามาเผยแพร่ในล้านนาไทยหลายด้าน ทั้งด้านศิลปกรรม...

เชียงใหม่เมืองประเทศราชของพม่า

เมื่อบุเรงนองยึดเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว ในระยะแรกนี้พม่ามิได้เข้ามาปกครองโดยตรง แต่ได้แต่งตั้งให้พระเมกุฏิเจ้าเมืองเชียงใหม่ปกครองบ้านเมืองตามเดิม ในฐานะเมืองประเทศราชของพม่าซึ่งเชียงใหม่จะต้องส่งเครื่องบรรณาการ ต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง จะต้องเข้าเฝ้าพระเจ้าแผ่นดินปีละ ๑ ครั้ง...

เชียงใหม่สมัยราชวงศ์มังราย

เมื่อพ่อขุนมังรายสร้างเมืองเชียงใหม่แล้ว ได้ทรงปกครองและประทับอยู่เมืองนี้ตลอด    พระชนม์ชีพของพระองค์ พระองค์เป็นกษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถ ทรงเป็นนักรบ นักปกครอง และอาจจะกล่าวว่าพระองค์เป็นนักพัฒนาก็ได้ ด้วยทรงเป็นผู้นำในการสร้างบ้านเมืองหลายเมือง ด้านการปกครองในสมัยนี้สันนิษฐานว่าพ่อขุนมังรายจะทรงปกครองเฉพาะเมืองเชียงใหม่เท่านั้น...

พระยามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่

พระยามังรายตำนานเล่าว่าทรงเป็นราชบุตรของพระยาลาวเมงและพระนางเทพคำข่าย  เจ้าหญิงแห่งเมืองเชียงรุ้ง เสด็จขึ้นครองราชย์ที่เมืองเงินยางเชียงแสน ประมาณ พ.ศ. ๑๘๐๕ พระองค์ทรงมีพระประสงค์ที่จะรวบรวมแคว้นต่างๆ ที่กระจัดกระจายและเป็นอิสระต่างๆ ให้รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน...

เมืองพะเยา

เมืองพะเยาเป็นเมืองเก่าที่สำคัญอีกเมืองหนึ่งก่อน พ.ศ. ๑๘๓๙ ตามเอกสารตำนานต่างๆ เรียกชื่อว่า ภูกามยาว เรื่องราวของเมืองนี้ก็เช่นเดียวกับหริภุญไชย สามารถตรวจสอบได้จากข้อมูลต่างๆ ได้แก่ เอกสารประเภทตำนาน...

เมืองหริภุญไชย

นอกเเหนือจากเมืองต่างๆ ดังกล่าวนามข้างต้นแล้ว บริเวณลุ่มแม่น้ำปิงมีชุมชนสำคัญอีกชุมชนหนึ่งที่มีความเจริญรุ่งเรืองและมีวิวัฒนาการสืบต่อกันมาเป็นเวลานานคือ เมืองหริภุญไชย หรือลำพูน มีเอกสารหลายเรื่องที่กล่าวถึงเมืองนี้ ได้แก่ ตำนานลำพูน ตำนานพระธาตุหริภุญไชย...

เมืองหิรัญเงินยางเชียงแสน และเมืองเชียงแสน

ประมาณ พ.ศ. ๑๑๘๑ ได้เกิดเมืองชื่อ หิรัญเงินยางเชียงแสนขึ้นบริเวณดอยตุง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ตามตำนานเล่าว่า พระยาลวจังกราชได้รับบัญชาจากพระอินทร์ให้ลงมา  ...

ประวัติศาสตร์จังหวัดเชียงใหม่ (สมัยราชวงศ์มังราย และสมัยพม่าปกครอง)

อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว เมืองเชียงใหม่มีชื่อที่ปรากฏในตำนานว่า “นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่” เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาไทยมาตั้งแต่พระยามังรายได้ทรงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ นับถึงปัจจุบันมีอายุร่วมเจ็ดร้อยปี และเมืองเชียงใหม่ได้มีวิวัฒนาการสืบเนื่องกันมาในประวัติศาสตร์ตลอดมา เชียงใหม่มีฐานะเป็นนครหลวงอิสระ...

อัพเดทเรื่องล่าสุด

รถตู้เชียงใหม่